วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

1.2 สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยและประเทศอาเซียน

ประเภทของพลังงานเชื้อเพลิง
1. ถ่านหิน (Coal)
ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลชนิดหนึ่งที่อยู่ในสถานะของแข็ง เกิดจากการทับถมกัน
ของซากพืชในยุคดึกดำบรรพ์ ถ่านหินมีปริมาณมากกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลชนิดอื่น ๆ โดยข้อมูล
พ.ศ. 2557 พบว่าถ่านหินของโลกจะมีเพียงพอต่อการใช้งานไปอีกอย่างน้อย 110 ปี และถ่านหิน
ในประเทศไทยเหลือใช้อยู่ 69 ปี ซึ่งถ่านหินที่นำมาเป็นเชื้อเพลิงสำหรับการผลิตกระแสไฟฟ้า
ได้แก่ ลิกไนต์ ซับบิทูมินัส และบิทูมินัส ใน พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมีการผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหิน
ประมาณร้อยละ 19 โดยมีทั้งการใช้ถ่านหินจากแหล่งในประเทศ คือ ลิกไนต์ที่เหมืองแม่เมาะ
จังหวัดลำปาง และบางส่วนนำเข้าจากต่างประเทศ โดยนำเข้าจากประเทศอินโดนีเซียมากที่สุด
กระบวนการผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหิน เริ่มจากการขนส่งถ่านหินจากลานกองถ่านหิน
ไปยังยุ้งถ่านหินโดยสายพานส่งไปยังเครื่องบดถ่านหินซึ่งจะบดถ่านหินเป็นผงละเอียดแล้วส่งไปยัง
หม้อไอน้ำเพื่อเผาไหม้ ทำให้น้ำร้อนขึ้นจนเกิดไอน้ำซึ่งจะถูกส่งไปยังกังหันไอน้ำ ทำให้กังหันหมุน
โดยแกนของกังหันเชื่อมต่อไปยังเครื่องกำ เนิดไฟฟ้าจึงทำ ให้เครื่องกำ เนิดไฟฟ้าทำ งาน
ผลิตกระแสไฟฟ้าออกมาดังภาพ

https://www.google.co.th
ภาพขั้นตอนการผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหิน


กระบวนการผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหิน มีข้อดีและข้อจำกัดดังนี้

 ข้อดีของการผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหิน
 ข้อจำกัดของการผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหิน
1. มีต้นทุนในการผลิตไฟฟ้าต่ำ
2. มีปริมาณเชื้อเพลิงสำรองมาก
3. สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตลอด 24 ชั่วโมง
4. ขนส่งง่าย จัดเก็บง่าย
1. ปล่อยก๊าซเรือนกระจก
2. ใช้เชื้อเพลิงในปริมาณมาก
3. ประชาชนไม่เชื่อมั่นเรื่องมลภาวะทางอากาศ

2. น้ํามัน (Petroleum Oil) น้ํามันเปนเชื้อเพลิงฟอสซิลชนิดหนึ่งที่มีสถานะเปนของเหลว เกิดจากซากพืช ซากสัตวทับถมเปนเวลาหลายลานป โดยขอมูลป พ.ศ. 2557 พบวาปริมาณน้ํามันดิบสํารองของ โลกจะมีเพียงพอตอการใชงานประมาณ 52.5 ป เทานั้น สวนประเทศไทยมีแหลงน้ํามันดิบ จากกลางอาวไทย เชน แหลงเบญจมาศ และแหลงจัสมิน เปนตน และบนบก เชน แหลงสิริกิติ์ อําเภอลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร เปนตน ซึ่งเหลือใชอีก 2.8 ป 18 น้ํามันที่ใชในการผลิตไฟฟามี 2 ประเภท คือ น้ํามันเตา และน้ํามันดีเซล ในป พ.ศ. 2558 การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ใชน้ํามันผลิตไฟฟาในสัดสวนเพียง รอยละ 1 เทานั้น เนื่องจากมีตนทุนการผลิตสูง สําหรับการใชน้ํามันมาผลิตไฟฟานั้นมักจะใชเปน เชื้อเพลิงสํารองในกรณีที่เชื้อเพลิงหลักไมสามารถนํามาใชผลิตได กระบวนการผลิตไฟฟาดวยน้ํามัน มี 2 กระบวนการ คือ 1) การผลิตไฟฟาดวยน้ํามันเตา ใชน้ํามันเตาเปนเชื้อเพลิงใหความรอนไปตมน้ํา เพื่อผลิตไอน้ําไปหมุนกังหันไอน้ําที่ตออยูกับเครื่องกําเนิดไฟฟา จึงเกิดการผลิตไฟฟาออกมา 2) การผลิตไฟฟาดวยน้ํามันดีเซล มีหลักการทํางานเหมือนกับเครื่องยนตในรถยนต ทั่วไป ซึ่งจะอาศัยหลักการสันดาปน้ํามันดีเซลของเครื่องยนตดีเซล ทําใหเพลาของเครื่องยนตหมุน สงผลใหเครื่องกําเนิดไฟฟาซึ่งตอกับเพลาของเครื่องยนตหมุน จึงเกิดการผลิตไฟฟาออกมา ดังภาพ

 https://www.google.co.th
ภาพการผลิตไฟฟาจากน้ํามันดีเซล


กระบวนการผลิตไฟฟาดวยน้ํามัน มีทั้งขอดีและขอจํากัด ดังน

 ขอดีของการผลิตไฟฟาดวยน้ํามัน
 ขอจํากัดของการผลิตไฟฟาดวยน้ํามัน
1. ขนสงงาย 
2. หาซื้อไดงาย
3. มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยกวาการผลิต ดวยถานหิน
4. สามารถเดินเครื่องไดอยางรวดเร็ว เหมาะสําหรับผลิตไฟฟาในกรณีฉุกเฉินหรือ ชวงความตองการไฟฟาสูงได 

1. ตองนําเขาจากตางประเทศ 
2. ราคาไมคงที่ขึ้นกับราคาน้ํามันของตลาดโลก 3. ปลอยกาซเรือนกระจก 
4. ไฟฟาที่ผลิตไดมีตนทุนตอหนวยสูง
5. ปริมาณเชื้อเพลิงเหลือนอย


3. กาซธรรมชาติ (Natural Gas) กาซธรรมชาติ เปนเชื้อเพลิงฟอสซิลชนิดหนึ่งที่มีสถานะเปนกาซ ซึ่งเกิดจาก การทับถมของซากพืชซากสัตวมานานนับลานป โดยขอมูลป พ.ศ. 2557 พบวาปริมาณ กาซธรรมชาติสํารองของโลกจะมีเพียงพอตอการใชงานประมาณ 54.1 ป เทานั้น และ กาซธรรมชาติในประเทศไทย เหลือใชอีก 5.7 ป ใน พ.ศ. 2558 ประเทศไทยใชกาซธรรมชาติ ผลิตกระแสไฟฟาในสัดสวนที่สูงมากถึงประมาณรอยละ 69 ซึ่งเปนกาซธรรมชาติที่ประเทศไทย ผลิตรอยละ 60 และนําเขาจากประเทศเมียนมารรอยละ 40 นับเปนความเสี่ยงดานความมั่นคง ในการจัดหาพลังงานไฟฟา เมื่อเปรียบเทียบปริมาณการใชและการผลิตไฟฟาของประเทศไทย กระบวนการผลิตไฟฟาดวยกาซธรรมชาติ เริ่มตนดวยกระบวนการเผาไหม กาซธรรมชาติ ในหองสันดาปของกังหันกาซที่มีความรอนสูงมาก เพื่อใหไดกาซรอนมาขับกังหัน ซึ่งจะไปหมุนเครื่องกําเนิดไฟฟา จากนั้นจะนํากาซรอนสวนที่เหลือไปผลิตไอน้ําสําหรับใชขับ เครื่องกําเนิดไฟฟาแบบกังหันไอน้ํา สําหรับไอน้ําสวนที่เหลือจะมีแรงดันต่ําก็จะผานเขาสู กระบวนการลดอุณหภูมิ เพื่อใหไอน้ําควบแนนเปนน้ําและนํากลับมาปอนเขาระบบผลิตใหม อยางตอเนื่อง


                                                   https://www.google.co.th
ภาพกระบวนการผลิตไฟฟาดวยกาซธรรมชาติ


 กระบวนการผลิตไฟฟาดวยกาซธรรมชาติ มีทั้งขอดีและขอจํากัด ดังนี้
 ขอดีของการผลิตไฟฟาดวยกาซธรรมชาติ 
 ขอจํากัดของการผลิตไฟฟาดวยกาซธรรมชาติ 
1. มีการเผาไหมสมบูรณจึงสงผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมนอยกวาเชื้อเพลิงฟอสซิล ประเภทอื่น ๆ 2. มีประสิ ทธิภาพ ในกา รผลิตไฟฟาสู ง สามารถผลิตไฟฟาไดตลอด 24 ชั่วโมง
 3. มีตนทุนในการผลิตไฟฟาต่ํา
1. ปริมาณสํารองของกาซธรรมชาติในอาวไทย
เหลือนอยบางสวนตองนําเขาจากตางประเทศ 
2. ราคากาซธรรมชาติไมคงที่ผูกติดกับราคาน้ํามัน
3. ปลอยกาซเรือนกระจก  







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น